มะเร็ง ภัยร้าย รู้เร็ว รักษาได้
รู้ทัน ป้องกัน โรคมะเร็ง ได้!
รู้จักมะเร็ง โรคร้ายที่ใกล้ตัวมากกว่าที่คุณคิด
ดูแลตนเองอย่างไร ให้ห่างไกลจากโรคมะเร็ง
มะเร็ง (Cancer)
◉ มะเร็ง คือ กลุ่มของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติ ที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ รวดเร็ว และมากกว่าปกติ ดังนั้น จึงอาจทำให้เกิดก้อนเนื้อผิดปกติ และในที่สุดก็จะ ทำให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น ถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะ เรียกชื่อ มะเร็ง ตามอวัยวะนั้นเช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง เม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน้ำเหลือง และมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น
◉ มะเร็ง คือ กลุ่มของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติ ที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ รวดเร็ว และมากกว่าปกติ ดังนั้น จึงอาจทำให้เกิดก้อนเนื้อผิดปกติ และในที่สุดก็จะ ทำให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น ถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะ เรียกชื่อ มะเร็ง ตามอวัยวะนั้นเช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง เม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน้ำเหลือง และมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น
◉ กลุ่มของมะเร็ง
1. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมาจากผิวหนัง หรือ เยื่อบุอวัยวะต่างๆ (Carcinoma)
2. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมากจากกระดูก (Sarcoma) กระดูกอ่อน ไขมัน กล้ามเนื้อ หรือ เส้นเลือด
3. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมาจากเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก (Leukemia) ทำให้มีความผิดปกติของเม็ดเลือด
4. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบภูมิคุ้มกัน (Lymphoma and Myeloma)
5. สมองและไขสันหลัง (Central Nervous System Cancer)
1. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมาจากผิวหนัง หรือ เยื่อบุอวัยวะต่างๆ (Carcinoma)
2. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมากจากกระดูก (Sarcoma) กระดูกอ่อน ไขมัน กล้ามเนื้อ หรือ เส้นเลือด
3. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมาจากเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก (Leukemia) ทำให้มีความผิดปกติของเม็ดเลือด
4. มะเร็งที่มีจุดกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบภูมิคุ้มกัน (Lymphoma and Myeloma)
5. สมองและไขสันหลัง (Central Nervous System Cancer)
โรคมะเร็งที่พบบ่อยใน ผู้ชาย ได้แก่ • มะเร็งตับ • มะเร็งปอด • มะเร็งลำไส้ใหญ่ • มะเร็งต่อมลูกหมาก • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง • มะเร็งเม็ดเลือดขาว • มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ • มะเร็งช่องปาก • มะเร็งกระเพาะอาหาร • มะเร็งหลอดอาหาร
โรคมะเร็งที่พบบ่อยใน ผู้หญิง ได้แก่ • มะเร็งเต้านม • มะเร็งปากมดลูก • มะเร็งตับ • มะเร็งปอด • มะเร็งลำไส้ใหญ่ • มะเร็งรังไข่ • มะเร็งเม็ดเลือดขาว • มะเร็งช่องปาก • มะเร็งต่อมไทรอยด์ • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
โรคมะเร็งที่พบบ่อยใน เด็ก ได้แก่ • มะเร็งเม็ดเลือดขาว • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง • เนื้องอก/มะเร็งสมอง • มะเร็งนิวโรบลาสโตมา/Neuroblas Toma (มะเร็งของประสาทซิมพาทีติก)
โรคมะเร็งที่พบบ่อยใน ผู้หญิง ได้แก่ • มะเร็งเต้านม • มะเร็งปากมดลูก • มะเร็งตับ • มะเร็งปอด • มะเร็งลำไส้ใหญ่ • มะเร็งรังไข่ • มะเร็งเม็ดเลือดขาว • มะเร็งช่องปาก • มะเร็งต่อมไทรอยด์ • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
โรคมะเร็งที่พบบ่อยใน เด็ก ได้แก่ • มะเร็งเม็ดเลือดขาว • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง • เนื้องอก/มะเร็งสมอง • มะเร็งนิวโรบลาสโตมา/Neuroblas Toma (มะเร็งของประสาทซิมพาทีติก)
◉ อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็ง
➣ ไม่มีอาการใดเลยในช่วงแรกขณะที่ร่างกายมีเซลล์มะเร็งเป็นจำนวนน้อย
➣ มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย ที่เป็นสัญญาณเตือน ว่าควรไปพบแพทย์ เพื่อการตรวจค้นหาโรคมะเร็ง หรือสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้มีสัญญาณ เหล่านี้ เพื่อการรักษาและแก้ไขทางการแพทย์ที่ถูกต้องก่อนที่จะกลายเป็นโรคมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะลุกลาม
➣ มีอาการป่วยของโรคทั่วไป เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่างกายทรุดโทรม ไม่สดชื่น และไม่แจ่มใส
➣ มีอาการที่บ่งบอกว่า มะเร็งอยู่ในระยะลุกลาม หรือเป็นมาก ขึ้นอยู่กับว่าเป็นมะเร็ง ชนิดใด และมีการกระจายของโรคอยู่ที่ส่วนใดของร่างกาย
➣ ไม่มีอาการใดเลยในช่วงแรกขณะที่ร่างกายมีเซลล์มะเร็งเป็นจำนวนน้อย
➣ มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย ที่เป็นสัญญาณเตือน ว่าควรไปพบแพทย์ เพื่อการตรวจค้นหาโรคมะเร็ง หรือสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้มีสัญญาณ เหล่านี้ เพื่อการรักษาและแก้ไขทางการแพทย์ที่ถูกต้องก่อนที่จะกลายเป็นโรคมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะลุกลาม
➣ มีอาการป่วยของโรคทั่วไป เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่างกายทรุดโทรม ไม่สดชื่น และไม่แจ่มใส
➣ มีอาการที่บ่งบอกว่า มะเร็งอยู่ในระยะลุกลาม หรือเป็นมาก ขึ้นอยู่กับว่าเป็นมะเร็ง ชนิดใด และมีการกระจายของโรคอยู่ที่ส่วนใดของร่างกาย
◉ สัญญาณอันตราย 7 ประการ ที่ทุกคนควรจะจำไว้เพื่อสุขภาพที่ดี ได้แก่
1. ➣ มีการเปลี่ยนแปลงของระบบขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ เช่น ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ หรือปัสสาวะเป็นเลือด
2. ➣ กลืนอาหารลำบาก หรือมีอาการเสียด แน่นท้องเป็นเวลานาน หรือระบบการย่อยผิดปกติ
3. ➣ มีอาการเสียงแหบ และมีอาการไอที่ผิดปกติ เช่น ไอปนเลือด ไอเรื้อรัง
4. ➣ มีเลือดออกผิดปกติ จากทวารต่างๆ ของร่างกาย
5. ➣ แผลเรื้อรังซึ่งรักษาแล้วไม่ยอมหาย
6. ➣ มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝตามร่างกายอย่างผิดปกติ หรือมีเลือดออก
7. ➣ คลำพบก้อนที่เต้านม หรือมีก้อนตุ่มที่ส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย
1. ➣ มีการเปลี่ยนแปลงของระบบขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ เช่น ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ หรือปัสสาวะเป็นเลือด
2. ➣ กลืนอาหารลำบาก หรือมีอาการเสียด แน่นท้องเป็นเวลานาน หรือระบบการย่อยผิดปกติ
3. ➣ มีอาการเสียงแหบ และมีอาการไอที่ผิดปกติ เช่น ไอปนเลือด ไอเรื้อรัง
4. ➣ มีเลือดออกผิดปกติ จากทวารต่างๆ ของร่างกาย
5. ➣ แผลเรื้อรังซึ่งรักษาแล้วไม่ยอมหาย
6. ➣ มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝตามร่างกายอย่างผิดปกติ หรือมีเลือดออก
7. ➣ คลำพบก้อนที่เต้านม หรือมีก้อนตุ่มที่ส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย
◉ สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทที่สำคัญ คือ
1. ➤ เกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือ ภายนอกร่างกาย ซึ่งปัจจุบันนี้เชื่อกันว่ามะเร็ง ส่วนใหญ่ เกิดจากสาเหตุได้แก่
1.1 ➣ สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม เช่น สารพิษจาก เชื้อรา สารก่อมะเร็งที่เกิดจากการปิ้ง ย่าง สารเคมีที่ใช้ในขบวนการถนอมอาหาร สีผสมอาหารที่มาจากสีย้อมผ้า
1.2 ➣ รังสีเอ็กซเรย์ อุลตราไวโอเลตจากแสงแดด
1.3 ➣ เชื้อไวรัส ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสฮิวแมนแพบพิลโลมา
1.4 ➣ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับ
1.5 ➣ จากพฤติกรรมบางอย่าง เช่น การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น
2. ➤ เกิดจากความผิดปกติภายในร่างกาย ซึ่งมีเป็นส่วนน้อย การมีภูมิคุ้มกันที่บกพร่องและภาวะ ทุพโภชนาการ เช่น การขาดไวตามินบางชนิด เช่น ไวตามินเอ ซี เป็นต้น
◉ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง ที่ สำคัญ มี 2 ข้อ
➤ ข้อ แรก คือ ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย เช่น สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อน ในอาหาร อากาศ เครื่องดื่ม ยารักษาโรค เป็นต้น รวมทั้งการได้รับรังสี เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และพยาธิบางชนิด
➤ ข้อที่สอง คือ ปัจจัยภายในร่างกาย เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน และภาวะทุพโภชนา เป็นต้น
◉ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง มีดังนี้
➣ ผู้ที่สูบบุหรี่ จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งของระบบหายใจ ได้แก่ ปอด และกล่องเสียง เป็นต้น
➣ ผู้ที่ดื่มสุราเป็นประจำ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ตับ ถ้าทั้งดื่มสุราและสูบบุหรี่จัด จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ช่องปากและในลำคอด้วย
➣ ผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ ไวรัสตับอักเสบชนิดบี หรือผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มี สารพิษ ชื่อ อัลฟาทอกซิล ที่พบจากเชื้อราที่ปนเปื้อนในอาหารเช่น ถั่วลิสงป่น เป็นต้น หากรับประทานประจำจะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับ และหากได้รับทั้ง 2 อย่าง โอกาส จะเป็นมะเร็งตับมากขึ้น
➣ ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเป็นประจำ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง เต้านม ลำไส้ใหญ่ เยื่อบุมดลูก และต่อมลูกหมาก
➣ ผู้ที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ และรับประทานอาหารที่ใส่ดิน ประสิวเป็นประจำ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งท่อน้ำดีในตับ
➣ ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอันเกิดจากความผิดปกติจากพันธุกรรมหรือติดเชื้อไวรัส เอดส์ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งของหลอดเลือด เป็นต้น
➣ ผู้ที่รับประทานอาหารเค็ม จัด อาหารที่มีส่วนผสมดินประสิวและส่วนไหม้เกรียม ของอาหารเป็นประจำจะเสี่ยง ต่อการเป็นมะเร็งกระเพาะ อาหารและลำไส้ใหญ่
➣ ผู้ที่มีประวัติโรคมะเร็งในครอบครัว อาทิ มะเร็งของจอตา มะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ และมะเร็งลำไส้ใหญ่ชนิดที่ เป็นติ่งเนื้อ เป็นต้น
➣ ผู้ที่ตากแดดจัดเป็นประจำจะ ได้รับอันตรายจากแสงแดดที่ มีปริมาณของแสงอุลตรา ไวโอเลต จำนวนมาก มีผลทำให้เป็นมะเร็งผิวหนังได้
1. ➤ เกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือ ภายนอกร่างกาย ซึ่งปัจจุบันนี้เชื่อกันว่ามะเร็ง ส่วนใหญ่ เกิดจากสาเหตุได้แก่
1.1 ➣ สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม เช่น สารพิษจาก เชื้อรา สารก่อมะเร็งที่เกิดจากการปิ้ง ย่าง สารเคมีที่ใช้ในขบวนการถนอมอาหาร สีผสมอาหารที่มาจากสีย้อมผ้า
1.2 ➣ รังสีเอ็กซเรย์ อุลตราไวโอเลตจากแสงแดด
1.3 ➣ เชื้อไวรัส ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสฮิวแมนแพบพิลโลมา
1.4 ➣ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับ
1.5 ➣ จากพฤติกรรมบางอย่าง เช่น การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น
2. ➤ เกิดจากความผิดปกติภายในร่างกาย ซึ่งมีเป็นส่วนน้อย การมีภูมิคุ้มกันที่บกพร่องและภาวะ ทุพโภชนาการ เช่น การขาดไวตามินบางชนิด เช่น ไวตามินเอ ซี เป็นต้น
◉ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง ที่ สำคัญ มี 2 ข้อ
➤ ข้อ แรก คือ ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย เช่น สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อน ในอาหาร อากาศ เครื่องดื่ม ยารักษาโรค เป็นต้น รวมทั้งการได้รับรังสี เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และพยาธิบางชนิด
➤ ข้อที่สอง คือ ปัจจัยภายในร่างกาย เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน และภาวะทุพโภชนา เป็นต้น
◉ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง มีดังนี้
➣ ผู้ที่สูบบุหรี่ จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งของระบบหายใจ ได้แก่ ปอด และกล่องเสียง เป็นต้น
➣ ผู้ที่ดื่มสุราเป็นประจำ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ตับ ถ้าทั้งดื่มสุราและสูบบุหรี่จัด จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ช่องปากและในลำคอด้วย
➣ ผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ ไวรัสตับอักเสบชนิดบี หรือผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มี สารพิษ ชื่อ อัลฟาทอกซิล ที่พบจากเชื้อราที่ปนเปื้อนในอาหารเช่น ถั่วลิสงป่น เป็นต้น หากรับประทานประจำจะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับ และหากได้รับทั้ง 2 อย่าง โอกาส จะเป็นมะเร็งตับมากขึ้น
➣ ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเป็นประจำ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง เต้านม ลำไส้ใหญ่ เยื่อบุมดลูก และต่อมลูกหมาก
➣ ผู้ที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ และรับประทานอาหารที่ใส่ดิน ประสิวเป็นประจำ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งท่อน้ำดีในตับ
➣ ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอันเกิดจากความผิดปกติจากพันธุกรรมหรือติดเชื้อไวรัส เอดส์ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งของหลอดเลือด เป็นต้น
➣ ผู้ที่รับประทานอาหารเค็ม จัด อาหารที่มีส่วนผสมดินประสิวและส่วนไหม้เกรียม ของอาหารเป็นประจำจะเสี่ยง ต่อการเป็นมะเร็งกระเพาะ อาหารและลำไส้ใหญ่
➣ ผู้ที่มีประวัติโรคมะเร็งในครอบครัว อาทิ มะเร็งของจอตา มะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ และมะเร็งลำไส้ใหญ่ชนิดที่ เป็นติ่งเนื้อ เป็นต้น
➣ ผู้ที่ตากแดดจัดเป็นประจำจะ ได้รับอันตรายจากแสงแดดที่ มีปริมาณของแสงอุลตรา ไวโอเลต จำนวนมาก มีผลทำให้เป็นมะเร็งผิวหนังได้
◉ อาหารที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดมะเร็ง
➣ อาหารที่มีราขึ้น โดยเฉพาะราสีเขียว-สี เหลือง มักพบเป็นเชื้อราที่ผลิตสารอะฟลาท็อกซิน (Aflatoxin)
➣ กลุ่มอาหารที่มีไขมันสูง โดยเฉพาะกลุ่ม ไขมันจากสัตว์ และไขมันอิ่มตัว
➣ กลุ่มอาหารแปรรูป / หมักดอง เช่น ไส้กรอก เบคอน ปลาร้า ปลาเค็ม แหนม เป็นต้น
➣ กลุ่มอาหารที่มีการปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ มักพบในอาหารที่มีการปรุงแต่งสี กลิ่น รส ที่มากจนเกินไป
➣ กลุ่มอาหารปิ้ง ย่าง รมควัน จนไหม้เกรียม / อาหารทอดน้ำมันซ้ำ ๆ เช่น หมูย่าง เนื้อย่าง ไก่ทอด มันฝรั่งทอด เป็นต้น
➣ กลุ่มอาหารเค็มจัด อาหารที่ถนอมด้วยเกลือ ดินประสิว
➣ กลุ่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ เนื่องจากแอลกอฮอล์เป็นเหตุให้ตับทำงานหนักมากขึ้น จนเกิดภาวะตับแข็ง และจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งในช่องปาก มะเร็งตับ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งอื่น ๆ อีกหลายชนิด
➣ อาหารที่มีราขึ้น โดยเฉพาะราสีเขียว-สี เหลือง มักพบเป็นเชื้อราที่ผลิตสารอะฟลาท็อกซิน (Aflatoxin)
➣ กลุ่มอาหารที่มีไขมันสูง โดยเฉพาะกลุ่ม ไขมันจากสัตว์ และไขมันอิ่มตัว
➣ กลุ่มอาหารแปรรูป / หมักดอง เช่น ไส้กรอก เบคอน ปลาร้า ปลาเค็ม แหนม เป็นต้น
➣ กลุ่มอาหารที่มีการปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ มักพบในอาหารที่มีการปรุงแต่งสี กลิ่น รส ที่มากจนเกินไป
➣ กลุ่มอาหารปิ้ง ย่าง รมควัน จนไหม้เกรียม / อาหารทอดน้ำมันซ้ำ ๆ เช่น หมูย่าง เนื้อย่าง ไก่ทอด มันฝรั่งทอด เป็นต้น
➣ กลุ่มอาหารเค็มจัด อาหารที่ถนอมด้วยเกลือ ดินประสิว
➣ กลุ่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ เนื่องจากแอลกอฮอล์เป็นเหตุให้ตับทำงานหนักมากขึ้น จนเกิดภาวะตับแข็ง และจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งในช่องปาก มะเร็งตับ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งอื่น ๆ อีกหลายชนิด
◉ โภชนาการกับโรคมะเร็ง
ทราบหรือไม่ว่าผู้ป่วยมะเร็งจำนวนมากเสียชีวิตจากการขาดอาหาร มากกว่าการลุกลามของโรค
ทำไมผู้ป่วยมะเร็งจึงขาดสารอาหาร
• ร่างกายต้องการพลังงานมากขึ้น เซลล์มะเร็งจะสร้างสารเคมีบางอย่างมำให้เผาผลาญอาหารได้โดยเร็ว
• รับประทานอาหารได้น้อยในขณะที่ร่างกายต้องการอาหารเพื่อนำไปสร้างพลังงานเพิ่มขึ้น แต่ผู้ป่วยมะเร็งจำนวนมากจะเบื่ออาหาร เมื่อเซลล์มะเร็งแพร่กระจาย การเบื่ออาหารจึงเป็นสาเหตุทำให้ขาดสารอาหารได้ง่ายขึ้น ทำอย่างไรจะทำให้รับ ประทานอาหารได้มากขึ้นได้
• ไม่รับประทานอาหารบางชนิด ปัญหาการที่ไม่รับประทานอาหารหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เพราะเข้าใจว่าเป็นอาหารแสลงต่อโรคมะเร็ง ยังเป็นอีกปัญหาที่ทำให้ผู้ป่วยมะเร็งขาดสารอาหาร
จากการศึกษาพบ ว่า อาหารอาจมีส่วนสัมพันธ์ กับการเกิดโรคมะเร็งได้ประมาณ 30-50% แต่ในขณะเดียวกันอาหารประเภทพืชผัก ผลไม้ ธัญพืช และ เครื่องเทศต่างๆ ก็มี คุณสมบัติในการป้องกันมะเร็งได้ ดังนั้น การรับประทานอาหารอย่างถูกต้องตามหลัก โภชนาการ จึงเป็นหนทางหนึ่ง ซึ่งสามารถป้องกันโรคมะเร็งได้
ภาวะโภชนาการที่ดี ไม่เพียงช่วยให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถทนต่อผลข้างเคียงของการรักษาได้เท่านั้น แต่ยังช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้นได้เช่นกัน
ทราบหรือไม่ว่าผู้ป่วยมะเร็งจำนวนมากเสียชีวิตจากการขาดอาหาร มากกว่าการลุกลามของโรค
ทำไมผู้ป่วยมะเร็งจึงขาดสารอาหาร
• ร่างกายต้องการพลังงานมากขึ้น เซลล์มะเร็งจะสร้างสารเคมีบางอย่างมำให้เผาผลาญอาหารได้โดยเร็ว
• รับประทานอาหารได้น้อยในขณะที่ร่างกายต้องการอาหารเพื่อนำไปสร้างพลังงานเพิ่มขึ้น แต่ผู้ป่วยมะเร็งจำนวนมากจะเบื่ออาหาร เมื่อเซลล์มะเร็งแพร่กระจาย การเบื่ออาหารจึงเป็นสาเหตุทำให้ขาดสารอาหารได้ง่ายขึ้น ทำอย่างไรจะทำให้รับ ประทานอาหารได้มากขึ้นได้
• ไม่รับประทานอาหารบางชนิด ปัญหาการที่ไม่รับประทานอาหารหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เพราะเข้าใจว่าเป็นอาหารแสลงต่อโรคมะเร็ง ยังเป็นอีกปัญหาที่ทำให้ผู้ป่วยมะเร็งขาดสารอาหาร
จากการศึกษาพบ ว่า อาหารอาจมีส่วนสัมพันธ์ กับการเกิดโรคมะเร็งได้ประมาณ 30-50% แต่ในขณะเดียวกันอาหารประเภทพืชผัก ผลไม้ ธัญพืช และ เครื่องเทศต่างๆ ก็มี คุณสมบัติในการป้องกันมะเร็งได้ ดังนั้น การรับประทานอาหารอย่างถูกต้องตามหลัก โภชนาการ จึงเป็นหนทางหนึ่ง ซึ่งสามารถป้องกันโรคมะเร็งได้
ภาวะโภชนาการที่ดี ไม่เพียงช่วยให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถทนต่อผลข้างเคียงของการรักษาได้เท่านั้น แต่ยังช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้นได้เช่นกัน
โรคมะเร็ง กินอะไรดี
เราสามารถ ลดความเสี่ยง ป้องกันโรคมะเร็ง และดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคมะเร็งได้...ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
✔️น้ำสมุนไพรรวมจากสมุนไพรฤทธิ์เย็น, เย็นกลาง, ร้อน, อุ่น (Punja Puta) ✔️ขมิ้นชัน (CURCUMA C-E) ✔️สารสกัดจากชาเขียว (EGCG) ✔️ถั่งเช่า (CHONG CAO) ✔️กระเทียม (Garlicine) ✔️ขิง (Ginger-C) ✔️สารสกัดจากเมล็ดองุ่น (GRAPE C-E) ✔️สารสกัดจากเปลือกองุ่นแดง เรสเวอราทอล (RES ZANOL) ✔️เห็ดหลินจือ (LING ZHI) ✔️น้ำมันปลา (Fish Oil) ✔️เจียวกู่หลาน (JIAOGULAN 250) ✔️โสม (3G Ginseng) ✔️โพลิโคซานอล (Cosanol Multi Plant Omega 3 Oil) ✔️ไลโคพีน (Lycopene) ✔️พลูคาว (BATA PLU-KAO) ✔️งาดำ (SESAME-S) ✔️ทับทิม (Granada) ✔️แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ✔️กระชาย (Krachai) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
เราสามารถ ลดความเสี่ยง ป้องกันโรคมะเร็ง และดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคมะเร็งได้...ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
✔️น้ำสมุนไพรรวมจากสมุนไพรฤทธิ์เย็น, เย็นกลาง, ร้อน, อุ่น (Punja Puta) ✔️ขมิ้นชัน (CURCUMA C-E) ✔️สารสกัดจากชาเขียว (EGCG) ✔️ถั่งเช่า (CHONG CAO) ✔️กระเทียม (Garlicine) ✔️ขิง (Ginger-C) ✔️สารสกัดจากเมล็ดองุ่น (GRAPE C-E) ✔️สารสกัดจากเปลือกองุ่นแดง เรสเวอราทอล (RES ZANOL) ✔️เห็ดหลินจือ (LING ZHI) ✔️น้ำมันปลา (Fish Oil) ✔️เจียวกู่หลาน (JIAOGULAN 250) ✔️โสม (3G Ginseng) ✔️โพลิโคซานอล (Cosanol Multi Plant Omega 3 Oil) ✔️ไลโคพีน (Lycopene) ✔️พลูคาว (BATA PLU-KAO) ✔️งาดำ (SESAME-S) ✔️ทับทิม (Granada) ✔️แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ✔️กระชาย (Krachai) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
ปัณจะ ภูตะ
เครื่องดื่มน้ำสมุนไพร 39 ชนิด
👀คลิกที่รูป
เครื่องดื่มน้ำสมุนไพร 39 ชนิด
👀คลิกที่รูป
ปัณจะ ภูตะ
สมุนไพร 39 ชนิด แคปซูล
👀คลิกที่รูป
สมุนไพร 39 ชนิด แคปซูล
👀คลิกที่รูป
เคอร์คิวมา ซี-อี
ขมิ้นชันผสมวิตามินซี-วิตามินอี
👀คลิกที่รูป
ขมิ้นชันผสมวิตามินซี-วิตามินอี
👀คลิกที่รูป
เคอร์คิวมา ซี-อี แมกซ์ ขมิ้นชัน วิตามินซี-อี สารสกัดพริกไทยดำ 👀คลิกที่รูป
Green Tea Extract (EGCG) อีจีซีจี สารสกัดจากชาเขียว
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
EGCG MAXX อีจีซีจี สารสกัดจากชาเขียว (อีจีซีจี 150 มก.)
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
ถั่งเช่า (CHONG CAO) บำรุงร่างกาย สุขภาพดี แข็งแรง
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
CHONG CAO-W ถั่งเช่า วิตามินซี ทับทิมสกัด ไลโคพีน จมูกถั่วเหลือง 👀คลิกที่รูป
การ์ลีซีน (Garlicine) กระเทียมผงสกัด 👀คลิกที่รูป
จินเจอร์-ซี สารสกัดขิง ผงขิง วิตามินซี 👀คลิกที่รูป
เกรป ซี-อี สารสกัดจากเมล็ดองุ่น 👀คลิกที่รูป
เกรป ซี-อี แมกซ์ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น เข้มกว่าเดิม 2.5 เท่า
เรส ซานอล น้ำมันรำข้าว สารสกัดจากเปลือก&เมล็ดองุ่นแดง แกมมา-โอรีซานอล
LING ZHI เห็ดหลินจือสีแดง สายพันธุ์ GANODERMA LUCIDIUM 👀คลิกที่รูป
Fish Oil 1000 - น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล) 👀คลิกที่รูป
JIAOGULAN 250 สารสกัดจากเจียวกู่หลาน เพิ่มภูมิคุ้มกันร่างกาย 👀คลิกที่รูป
ทรีจี จินเส็ง โสม 3 สายพันธุ์ บำรุง ดูแลร่างกายอย่างทั่วถึงครอบคลุม 👀คลิกที่รูป
Cosanol Multi Plant น้ำมันงาขี้ม่อน เมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา วิตามินอี โพลิโคซานอล
Lycopene สารแคโรทีนอยด์ ที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระที่โดดเด่น 👀คลิกที่รูป
BETA PLU-KAO พลูคาวสกัด เบต้า-กลูแคน เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน 👀คลิกที่รูป
Sesame-S สารสกัดจากงาดำ ข้าวกล้องหอมนิลงอก วิตามินซี ซีลีเนียม 👀คลิกที่รูป
GRANADA กรานาดา สารสกัดจากทับทิม ชนิดเม็ด
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
แอสตาแซนธินผสมวิตามินซี (สารสกัดสาหร่ายฮีมาโตคอกคัส พลูวิเอลิส) 👀คลิกที่รูป
แอสตา-แมกซ์ Astaxanthin สารต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง 👀คลิกที่รูป
กระชาย-พลัส กระชายขาวที่มีสรรพคุณทางการแพทย์แผนไทย 👀คลิกที่รูป
กระชายดำ แมกซ์ พลัส+ สารสกัดกระชายดำ สารสกัดโสม ไลโคพีน วิตามินและเกลือแร่
Asta Q Plus Carotenoids รวมสารต้านอนุมูลอิสระปกป้องทุกเซลล์ ทุกอวัยวะร่างกาย
ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด ดูแลสุขภาพที่ยั่งยืน 👀คลิกที่รูป▼
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (30 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (60 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
📖เรียนรู้เกี่ยวกับ โรค NCDs โรคที่เราสร้างเองอื่นๆ 👀คลิกที่รูป▼
🤠 CHAIWAT maximize
WEB design & Health Advisor
📞 tel:0624975450
LINE ID: CHAIWATmaximize
Email: [email protected]
WEB design & Health Advisor
📞 tel:0624975450
LINE ID: CHAIWATmaximize
Email: [email protected]
Contact
ติดต่อ สอบถาม สั่งซื้อ
แตะคลิกที่ ปุ่มโทร หรือ ปุ่มไลน์
หรือกรอกรายละเอียด ข้อมูล
ที่แบบฟอร์มด้านล่างแล้วกดส่งถึงเรา
ติดต่อ สอบถาม สั่งซื้อ
แตะคลิกที่ ปุ่มโทร หรือ ปุ่มไลน์
หรือกรอกรายละเอียด ข้อมูล
ที่แบบฟอร์มด้านล่างแล้วกดส่งถึงเรา
Visit 21484
Presented by healthytips-healthcare.com