โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)ღ ความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิซึมในร่างกาย ซึ่งส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
➤ โรคเบาหวาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. เบาหวานแบบพึ่งพาอินซูลิน (Insulin-dependent diabetes mellitus)
2. เบาหวานแบบไม่พึ่งพาอินซูลิน (Non-Insulin-dependent diabetes mellitus)
โรคเบาหวานที่มีอันตรายที่สุดคือ?
◉ เบาหวานแบบพึ่งพาอินซูลิน
➢ ร่างกายจะไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ เนื่องจากตับอ่อนถูกทำลาย ส่วนใหญ่เกิดจากภาวะภูมิต้านทานตนเอง
➢ โอกาสพบได้น้อย (ประมาณ 5-10%) มักพบตั้งแต่วัยเด็ก
➢ ผู้ป่วยต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลินเท่านั้น รับประทานยาไม่ได้
◉ เบาหวานแบบไม่พึ่งพาอินซูลิน
➢ ร่างกายเกิดภาวะดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) คือร่างกายสามารถผลิตอินซูลินได้ แต่ไม่สามารถออกฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ ทำให้ตับอ่อนต้องผลิตอินซูลินออกมามากกว่าปกติ และทำงานหนัก
➢ พบได้ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยเบาหวาน (99% ในประเทศไทย)
➢ โอกาสเสี่ยงได้แก่กรรมพันธุ์, ความอ้วน, อายุที่เพิ่มขึ้น (มักมากกว่า 40 ปี), ผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง และระดับไขมันในเลือดสูง, ความเครียด
◉ อาการของโรคเบาหวาน
➢ ปัสสาวะบ่อย ➢ น้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว ➢ แผลหายยาก ➢ หิวบ่อย ➢ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ➢ สายตาพร่ามัว ➢ อ่อยเพลีย ➢ เหนื่อยง่าย ➢ ติดเชื้อในช่องคลอด ➢ มือชา เท้าชา ➢ กระหายน้ำบ่อย
➢ ปัสสาวะบ่อย ➢ น้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว ➢ แผลหายยาก ➢ หิวบ่อย ➢ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ➢ สายตาพร่ามัว ➢ อ่อยเพลีย ➢ เหนื่อยง่าย ➢ ติดเชื้อในช่องคลอด ➢ มือชา เท้าชา ➢ กระหายน้ำบ่อย
◉ ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน
จะทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ตีบลง และเสียหาย จึงส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ มากมาย ได้แก่
➢ จอตาเสื่อม อาจทำให้ตาบอด
➢ ไตเสื่อม อาจเกิดภาวะไตวาย เนื่องจากไตทำงานหนัก
➢ การทำงานของระบบประสาทเสื่อม เช่น มือ เท้าชา สมรรถภาพทางเพศลดลง
➢ มีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจสูง
➢ มากกว่า 70% ของผู้ป่วยเบาหวานตาย เนื่องจากโรคหลอดเลือดหัวใจ
➢ มักเป็นแผลเรื้อรัง รักษาหายยาก เช่น แผลที่เท้า
จะทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ตีบลง และเสียหาย จึงส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ มากมาย ได้แก่
➢ จอตาเสื่อม อาจทำให้ตาบอด
➢ ไตเสื่อม อาจเกิดภาวะไตวาย เนื่องจากไตทำงานหนัก
➢ การทำงานของระบบประสาทเสื่อม เช่น มือ เท้าชา สมรรถภาพทางเพศลดลง
➢ มีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจสูง
➢ มากกว่า 70% ของผู้ป่วยเบาหวานตาย เนื่องจากโรคหลอดเลือดหัวใจ
➢ มักเป็นแผลเรื้อรัง รักษาหายยาก เช่น แผลที่เท้า
◉ การดูแล รักษา
การดูแล รักษา ภาวะโรคเบาหวาน
➢ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ
➢ ควบคุมอาหาร
➢ ควบคุมน้ำหนัก
➢ รับประทานยา หรือฉีดยาตามแพทย์สั่ง
➢ หมั่นตรวจสอบระดับน้ำตาลในเลือด
➢ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
➢ พักผ่อนให้เพียงพอ
➢ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ
➢ ควบคุมอาหาร
➢ ควบคุมน้ำหนัก
➢ รับประทานยา หรือฉีดยาตามแพทย์สั่ง
➢ หมั่นตรวจสอบระดับน้ำตาลในเลือด
➢ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
➢ พักผ่อนให้เพียงพอ
◉ โรคเบาหวาน กินอะไรดี ღღღ
✨ เราสามารถดูแลสุขภาพ ป้องกัน ลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ⛛
✔️โคลีนและวิตามิน บี (Choline-B) ✔️ซุปราวิท ✔️ลูทีน (Lutien) ซีแซนทีน (Zeaxanthin) ✔️ถั่งเช่า (CHONG CAO) ✔️สารสกัดจากเมล็ดองุ่น (GRAPE C-E) ✔️สารสกัดจากเปลือกองุ่นแดง เรสเวอราทอล (RES ZANOL) ✔️แอสต้าแซนธิน ✔️เห็ดหลินจือ (LING ZHI) ✔️เจียวกู่หลาน (JIAOGULAN) ✔️มะรุม (Marum-C) ✔️ขิง (Ginger-C) ✔️ขมิ้นชัน (CURCUMA C-E)
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ⛛
✔️สารสกัดจากใบบัวบก โกตูลา ซี-อี (Gotula C-E) ✔️ทับทิม (Granada) ✔️น้ำมันเมล็ดงาขี้ม่อน น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา โพลิโคซานอล (Cosanol Multi Plant Omega 3 Oil) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
◎➤ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานได้...
◎➤ อาหารเพื่อสุขภาพแนะนำ
✨ เราสามารถดูแลสุขภาพ ป้องกัน ลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ⛛
✔️โคลีนและวิตามิน บี (Choline-B) ✔️ซุปราวิท ✔️ลูทีน (Lutien) ซีแซนทีน (Zeaxanthin) ✔️ถั่งเช่า (CHONG CAO) ✔️สารสกัดจากเมล็ดองุ่น (GRAPE C-E) ✔️สารสกัดจากเปลือกองุ่นแดง เรสเวอราทอล (RES ZANOL) ✔️แอสต้าแซนธิน ✔️เห็ดหลินจือ (LING ZHI) ✔️เจียวกู่หลาน (JIAOGULAN) ✔️มะรุม (Marum-C) ✔️ขิง (Ginger-C) ✔️ขมิ้นชัน (CURCUMA C-E)
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ⛛
✔️สารสกัดจากใบบัวบก โกตูลา ซี-อี (Gotula C-E) ✔️ทับทิม (Granada) ✔️น้ำมันเมล็ดงาขี้ม่อน น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา โพลิโคซานอล (Cosanol Multi Plant Omega 3 Oil) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
◎➤ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานได้...
◎➤ อาหารเพื่อสุขภาพแนะนำ
JIAOGULAN 250 สารสกัดจากเจียวกู่หลาน เพิ่มภูมิคุ้มกันร่างกาย 👀คลิกที่รูป
LING ZHI เห็ดหลินจือสีแดง สายพันธุ์ GANODERMA LUCIDIUM 👀คลิกที่รูป
จินเจอร์-ซี สารสกัดขิง ผงขิง วิตามินซี 👀คลิกที่รูป
Gotula C-E สารสกัดจากใบบัวบก ผสมวิตามินซีและวิตามินอี 👀คลิกที่รูป
แอล ซี วิต พลัส เอ ลูทีน และซีแซนทีน ผสมวิตามินเอ 👀คลิกที่รูป
แอล ซี วิต 3 เอกซ์ (LZvit 3X) ลูทีน ซีแซนทีน เข้มข้นกว่าเดิมถึง 3 เท่า ผสมแอสตาแซนธิน 👀
โคลีน บี (Choline-B) โคลีน ไบทาร์เทรต ผสมวิตามินบีคอมเพล็กซ์ 👀คลิกที่รูป
เคอร์คิวมา ซี-อี
ขมิ้นชันผสมวิตามินซี-วิตามินอี
👀คลิกที่รูป
ขมิ้นชันผสมวิตามินซี-วิตามินอี
👀คลิกที่รูป
เคอร์คิวมา ซี-อี แมกซ์ ขมิ้นชัน วิตามินซี-อี สารสกัดพริกไทยดำ 👀คลิกที่รูป
GRANADA กรานาดา สารสกัดจากทับทิม ชนิดเม็ด
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
เกรป ซี-อี สารสกัดจากเมล็ดองุ่น 👀คลิกที่รูป
เกรป ซี-อี แมกซ์ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น เข้มกว่าเดิม 2.5 เท่า 👀คลิกที่รูป
เรส ซานอล น้ำมันรำข้าว สารสกัดจากเปลือก&เมล็ดองุ่นแดง แกมมา-โอรีซานอล 👀
มะรุม-ซี (Marum-C) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารใบมะรุมผสมวิตามินซี 👀คลิกที่รูป
ถั่งเช่า (CHONG CAO) บำรุงร่างกาย สุขภาพดี แข็งแรง
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
CHONG CAO-W ถั่งเช่า วิตามินซี ทับทิมสกัด ไลโคพีน จมูกถั่วเหลือง 👀คลิกที่รูป
Cosanol Multi Plant น้ำมันงาขี้ม่อน เมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา วิตามินอี โพลิโคซานอล 👀
ลดความเสี่ยงเบาหวาน ลดระดับน้ำตาลในเลือด ได้ด้วย ALA โอเมก้า 3 จากพืช 👀
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (30 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (60 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
📖เรียนรู้เกี่ยวกับ โรค NCDs โรคที่เราสร้างเองอื่นๆ 👀คลิกที่รูป▼
Contact
ติดต่อ สอบถาม สั่งซื้อ
แตะคลิกที่ ปุ่มโทร หรือ ปุ่มไลน์
หรือกรอกรายละเอียด ข้อมูล
ที่แบบฟอร์มด้านล่างแล้วกดส่งถึงเรา
🤠 CHAIWAT maximize
WEB design & Health Advisor
📞 tel:0624975450
LINE ID: CHAIWATmaximize
Email: [email protected]
WEB design & Health Advisor
📞 tel:0624975450
LINE ID: CHAIWATmaximize
Email: [email protected]
Visit 21484
Presented by healthytips-healthcare.com