🩸ความดันโลหิตสูง (Hypertension)เราสามารถป้องกันดูแลสุขภาพโรคความดันโลหิตสูงได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ อาหารเพื่อสุขภาพแนะนำ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยง และช่วยควบคุมความดันโลหิตสูงได้...
🩸ความดันโลหิตสูง เป็นต้นเหตุที่ทำให้หลอดเลือดตีบตันและเปราะบางง่าย
มีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดเป็นหลอดเลือดสมองได้ มีโอกาสเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต หัวใจวาย หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดแข็ง ไตวาย โรคจอตา การโป่งพองของหลอดเลือดแดง
◉ ความดันโลหิต (Blood Pressure)
เมื่อหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย การเคลื่อนที่ของเลือดภายในหลอดเลือดจะส่งแรงกระทำต่อผนังหลอดเลือด ทำให้เกิดความดันภายในหลอดเลือด เราเรียกความดันนั้นว่า ความดันโลหิต
◉ ความดันปกติ อยู่ที่เท่าไร?
ความดันโลหิต คือ แรงดันภายในหลอดเลือดแดง ที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจ เพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ในการวัดระดับความดันโลหิตจะแสดงผลออกมา 2 ค่า คือ
➢ ความดันบน (Systolic Pressure) คือค่าความดันในหลอดเลือดแดงขณะที่หัวใจบีบตัว
➢ ความดันล่าง (Diastolic Pressure) คือค่าความดันในหลอดเลือดแดงขณะที่หัวใจคลายตัว
ความดันโลหิต คือ แรงดันภายในหลอดเลือดแดง ที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจ เพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ในการวัดระดับความดันโลหิตจะแสดงผลออกมา 2 ค่า คือ
➢ ความดันบน (Systolic Pressure) คือค่าความดันในหลอดเลือดแดงขณะที่หัวใจบีบตัว
➢ ความดันล่าง (Diastolic Pressure) คือค่าความดันในหลอดเลือดแดงขณะที่หัวใจคลายตัว
🩺High Blood Pressure in The Elderly
🩸สาเหตุความดันสูงในผู้สูงอายุ🤠
◉ ความดันโลหิตสูงเกิดจาก
▷ กลุ่มไม่ทราบสาเหตุ (Essential Hypertension หรือ Primary Hypertension)
➢ ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มนี้ ร้อยละ 95
➢ ถึงแม้จะไม่ทราบสาเหตุ แต่มักมีความสัมพันธ์กับปัจจัยเหล่านี้ ได้แก่ การรับประทานเค็ม (มากกว่า 5.8 กรัม ต่อ วัน) อายุมากขึ้น กรรมพันธุ์ ความอ้วน ความเครียด การสูบบุหรี่ และการดื่มเหล้า
▷ กลุ่มทราบสาเหตุ (Secondary Hypertension)
➢ เกิดจากโรค และภาวะต่างๆ ได้แก่ โรคไต หลอดเลือดแดงตีบ มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ และการใช้ยาบางชนิด เช่น ยาคุมกำเนิด
◉ ความดันโลหิตสูงเกิดจาก
▷ กลุ่มไม่ทราบสาเหตุ (Essential Hypertension หรือ Primary Hypertension)
➢ ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มนี้ ร้อยละ 95
➢ ถึงแม้จะไม่ทราบสาเหตุ แต่มักมีความสัมพันธ์กับปัจจัยเหล่านี้ ได้แก่ การรับประทานเค็ม (มากกว่า 5.8 กรัม ต่อ วัน) อายุมากขึ้น กรรมพันธุ์ ความอ้วน ความเครียด การสูบบุหรี่ และการดื่มเหล้า
▷ กลุ่มทราบสาเหตุ (Secondary Hypertension)
➢ เกิดจากโรค และภาวะต่างๆ ได้แก่ โรคไต หลอดเลือดแดงตีบ มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ และการใช้ยาบางชนิด เช่น ยาคุมกำเนิด
โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ เพชฌฆาตเงียบที่ควรตระหนัก
◉ ความดันโลหิตสูง คือ มฤตยูเงียบ
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานเรื้อรัง จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อผนังหลอดเลือด และจะนำพาไปสู่โรคร้ายที่เป็นอันตรายแก่ชีวิต
➢ โรคหลอดเลือดสมอง มีโอกาสเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
➢ โรคหัวใจ เช่น หัวใจวาย หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดแข็ง
➢ ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุสำคัญของการโป่งพองของหลอดเลือดแดง
➢ ไตวาย
➢ โรคจอตา
◉ ความดันโลหิตสูง คือ มฤตยูเงียบ
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานเรื้อรัง จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อผนังหลอดเลือด และจะนำพาไปสู่โรคร้ายที่เป็นอันตรายแก่ชีวิต
➢ โรคหลอดเลือดสมอง มีโอกาสเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
➢ โรคหัวใจ เช่น หัวใจวาย หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดแข็ง
➢ ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุสำคัญของการโป่งพองของหลอดเลือดแดง
➢ ไตวาย
➢ โรคจอตา
โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ เพชฌฆาตเงียบที่ควรตระหนัก
◉ ความดันโลหิตสูง คือ มฤตยูเงียบ
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานเรื้อรัง จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อผนังหลอดเลือด และจะนำพาไปสู่โรคร้ายที่เป็นอันตรายแก่ชีวิต
➢ โรคหลอดเลือดสมอง มีโอกาสเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
➢ โรคหัวใจ เช่น หัวใจวาย หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดแข็ง
➢ ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุสำคัญของการโป่งพองของหลอดเลือดแดง
➢ ไตวาย
➢ โรคจอตา
◉ ความดันโลหิตสูง คือ มฤตยูเงียบ
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานเรื้อรัง จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อผนังหลอดเลือด และจะนำพาไปสู่โรคร้ายที่เป็นอันตรายแก่ชีวิต
➢ โรคหลอดเลือดสมอง มีโอกาสเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
➢ โรคหัวใจ เช่น หัวใจวาย หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดแข็ง
➢ ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุสำคัญของการโป่งพองของหลอดเลือดแดง
➢ ไตวาย
➢ โรคจอตา
โรคความดันโลหิตสูง อาการ
◉ อาการของผู้ที่ภาวะความดันโลหิตสูง
➢ กว่าร้อยละ 90 ของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงไม่มีอาการใดๆ
➢ ปวดศีรษะ อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย อาการปวดศีรษะจะพบในผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก (ความดันบนมากกว่า 180 มม. ปรอท และความดันล่างมากกว่า 110 มม. ปรอท)
➢ เลือดกำเดาไหล พบประมาณร้อยละ 17 ของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
➢ อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ เช่นหน้าแดง มึนงง หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ เป็นลมหมดสติ เจ็บหน้าอก ตามัว แขนขาบวม
◉ อาการของผู้ที่ภาวะความดันโลหิตสูง
➢ กว่าร้อยละ 90 ของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงไม่มีอาการใดๆ
➢ ปวดศีรษะ อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย อาการปวดศีรษะจะพบในผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก (ความดันบนมากกว่า 180 มม. ปรอท และความดันล่างมากกว่า 110 มม. ปรอท)
➢ เลือดกำเดาไหล พบประมาณร้อยละ 17 ของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
➢ อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ เช่นหน้าแดง มึนงง หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ เป็นลมหมดสติ เจ็บหน้าอก ตามัว แขนขาบวม
โรคความดันโลหิตสูง การรักษา
◉ การรักษา
▷ แนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
➢ ลดการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ การรับประทานอาหารมัน เค็ม
➢ เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และควบคุมน้ำหนัก
➢ หมั่นออกกำลังกาย และทำจิตใจให้ผ่อนคลาย
▷ ใช้ยาลดความดันโลหิตซึ่งมีหลายกลุ่ม ได้แก่
➢ ACE inhibitors ยับยั้งเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มความดันโลหิต
➢ Calcium Chanel Blockers มีฤทธิ์ยาขยายหลอดเลือด และลดแรงบีบตัวของหัวใจ โดยปิดกั้นการซึมผ่านของแคลเซี่ยมเข้าสู่กล้ามเนื้อหัวใจ
➢ Beta Blockers มีฤทธิ์ลดปริมาณเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ โดยปิดกั้นระบบประสาทอัตโนมัติ
➢ Diuretic มีฤทธิ์ขับน้ำ และเกลือออกจากปัสสาวะ
◉ การรักษา
▷ แนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
➢ ลดการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ การรับประทานอาหารมัน เค็ม
➢ เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และควบคุมน้ำหนัก
➢ หมั่นออกกำลังกาย และทำจิตใจให้ผ่อนคลาย
▷ ใช้ยาลดความดันโลหิตซึ่งมีหลายกลุ่ม ได้แก่
➢ ACE inhibitors ยับยั้งเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มความดันโลหิต
➢ Calcium Chanel Blockers มีฤทธิ์ยาขยายหลอดเลือด และลดแรงบีบตัวของหัวใจ โดยปิดกั้นการซึมผ่านของแคลเซี่ยมเข้าสู่กล้ามเนื้อหัวใจ
➢ Beta Blockers มีฤทธิ์ลดปริมาณเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ โดยปิดกั้นระบบประสาทอัตโนมัติ
➢ Diuretic มีฤทธิ์ขับน้ำ และเกลือออกจากปัสสาวะ
◉ การควบคุม ป้องกัน ดูแล
⫸ควบคุมน้ำหนัก (BMI ไม่เกิน 23 กก./ม²) ลดน้ำหนัก อย่างน้อย 5 - 10 กก. จะทำให้ความดันลดลง 5 - 10 หน่วย มิลลิเมตรปรอท (mmHg)
⫸หมั่นออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที/วัน สัปดาห์ละ 5 ครั้ง ควรให้อัตราการเต้นของหัวใจขณะเหนื่อยอยู่ที่ประมาณ 100 - 140 ครั้ง/นาที ทำให้มีเลือดสูบฉีดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากขึ้น หลอดเลือดยืดหยุ่นได้ดี จะทำให้ความดันลดลงได้
⫸เลือกรับประทานผักผลไม้หลากสีให้มากขึ้น ผักผลไม้หลากสีจะมีสารต้านอนุมูลอิสระ และตัวช่วยยืดหยุ่นของหลอดเลือด จะทำให้ความดันดีขึ้นได้
⫸ลดอาหารมัน เค็ม เลือกรับประทานผัก ผลไม้ให้มากขึ้น
⫸ทำจิตใจให้ผ่อนคลาย ไม่เครียด
⫸งดการสูบบุหรี่
⫸จำกัดปริมาณการดื่มสุรา (ชายไม่เกิน 2 หน่วยต่อวัน หญิงไม่เกิน 1 หน่วยต่อวัน
⫸ควบคุมน้ำหนัก (BMI ไม่เกิน 23 กก./ม²) ลดน้ำหนัก อย่างน้อย 5 - 10 กก. จะทำให้ความดันลดลง 5 - 10 หน่วย มิลลิเมตรปรอท (mmHg)
⫸หมั่นออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที/วัน สัปดาห์ละ 5 ครั้ง ควรให้อัตราการเต้นของหัวใจขณะเหนื่อยอยู่ที่ประมาณ 100 - 140 ครั้ง/นาที ทำให้มีเลือดสูบฉีดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากขึ้น หลอดเลือดยืดหยุ่นได้ดี จะทำให้ความดันลดลงได้
⫸เลือกรับประทานผักผลไม้หลากสีให้มากขึ้น ผักผลไม้หลากสีจะมีสารต้านอนุมูลอิสระ และตัวช่วยยืดหยุ่นของหลอดเลือด จะทำให้ความดันดีขึ้นได้
⫸ลดอาหารมัน เค็ม เลือกรับประทานผัก ผลไม้ให้มากขึ้น
⫸ทำจิตใจให้ผ่อนคลาย ไม่เครียด
⫸งดการสูบบุหรี่
⫸จำกัดปริมาณการดื่มสุรา (ชายไม่เกิน 2 หน่วยต่อวัน หญิงไม่เกิน 1 หน่วยต่อวัน
◉ ความดันโลหิตสูง กินอะไรดี
✨ เราสามารถดูแลสุขภาพ ป้องกัน ลดความเสี่ยง ความดันโลหิตสูง ได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ⛛
✔️น้ำมันปลา (Fish Oil) ✔️เห็ดหลินจือ (LING ZHI) ✔️สารสกัดจากเห็ด ฟลาโวกลูแคน (Flavo Glucan) ➢ วิตามินซี, อะเซโรล่า เชอร์รี่, เบต้า-กลูแคน, ซิตรัสไบโอฟลาโวนอยด์, สารสกัดจากเห็ดหลินจือ, เห็ดยามาบูชิตาเกะ, เห็ดไมตาเกะ ✔️กระเทียม (Garlicine) ✔️ทับทิม ✔️น้ำทับทิม ✔️โสม (3G Ginseng โสม 3 สายพันธุ์) ✔️มะรุม (Marum-C) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
สำหรับผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงแนะนำว่าต้องรับประทานยาลดความดันโลหิตเป็นหลัก ต้องดูแลโดยแพทย์ตลอด ผู้ที่งดยาเอง มักจะมีความดันโลหิตสูง
✨ เราสามารถดูแลสุขภาพ ป้องกัน ลดความเสี่ยง ความดันโลหิตสูง ได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ⛛
✔️น้ำมันปลา (Fish Oil) ✔️เห็ดหลินจือ (LING ZHI) ✔️สารสกัดจากเห็ด ฟลาโวกลูแคน (Flavo Glucan) ➢ วิตามินซี, อะเซโรล่า เชอร์รี่, เบต้า-กลูแคน, ซิตรัสไบโอฟลาโวนอยด์, สารสกัดจากเห็ดหลินจือ, เห็ดยามาบูชิตาเกะ, เห็ดไมตาเกะ ✔️กระเทียม (Garlicine) ✔️ทับทิม ✔️น้ำทับทิม ✔️โสม (3G Ginseng โสม 3 สายพันธุ์) ✔️มะรุม (Marum-C) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
สำหรับผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงแนะนำว่าต้องรับประทานยาลดความดันโลหิตเป็นหลัก ต้องดูแลโดยแพทย์ตลอด ผู้ที่งดยาเอง มักจะมีความดันโลหิตสูง
Fish Oil 1000 - น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล) 👀คลิกที่รูป
LING ZHI เห็ดหลินจือสีแดง สายพันธุ์ GANODERMA LUCIDIUM 👀คลิกที่รูป
ฟลาโวกลูแคน ยกระดับภูมิคุ้มกัน ดูแลตัวเองให้แข็งแรง 👀คลิกที่รูป
การ์ลีซีน กระเทียมผงสกัด ลดความเสี่ยงการเป็นความดันโลหิตสูง 👀คลิกที่รูป
GRANADA กรานาดา สารสกัดจากทับทิม ชนิดเม็ด
👀คลิกที่รูป
👀คลิกที่รูป
ทรีจี จินเส็ง โสม 3 สายพันธุ์ บำรุง ดูแลร่างกายอย่างทั่วถึงครอบคลุม 👀คลิกที่รูป
มะรุม-ซี Marum-C ประโยชน์ดีๆสุดWOW จากมะรุมผสมวิตามินซี 👀คลิกที่รูป
🩸ไขมันในเลือดสูง สารอาหารที่มีประโยชน์ ช่วยควบคุมไขมันในเลือดสูง👀คลิกที่รูป
ลด ความดันโลหิต ความข้นหนืดของเลือด การเกิดลิ่มเลือด ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดี 👀
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (30 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (60 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
📖เรียนรู้เกี่ยวกับ โรค NCDs โรคที่เราสร้างเองอื่นๆ 👀คลิกที่รูป▼
Visit 21484
Presented by healthytips-healthcare.com