Health Tips Health CARE เคล็ดลับสุขภาพดี
เราสามารถ ป้องกันดูแลสุขภาพโรคไขมันในเลือดสูง ได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ อาหารเพื่อสุขภาพแนะนำ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยง และช่วยควบคุมไขมันในเลือดสูงได้...
◉ โรคไขมันในเลือดสูง กับความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
➤ ความผิดปกติของ lipoprotein metabolism เป็นผลให้ระดับไขมันในเลือดเปลี่ยนแปลงไปจนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
➤ เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมากมาย ระดับไขมันในเลือดมีความสาคัญต่อการเกิดหลอดเลือดตีบตัน โดยเฉพาะหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
➤ ดังนั้น ผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงจึงมีโอกาสเป็นโรคหัวใจขาดเลือด สมองขาดเลือด อัมพฤกษ์ อัมพาตได้
➤ ความผิดปกติของ lipoprotein metabolism เป็นผลให้ระดับไขมันในเลือดเปลี่ยนแปลงไปจนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
➤ เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมากมาย ระดับไขมันในเลือดมีความสาคัญต่อการเกิดหลอดเลือดตีบตัน โดยเฉพาะหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
➤ ดังนั้น ผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงจึงมีโอกาสเป็นโรคหัวใจขาดเลือด สมองขาดเลือด อัมพฤกษ์ อัมพาตได้
◉ ชนิดของไขมันในเลือด
◉➤ โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้เองจากตับ และลำไส้ หรือได้รับจากสารอาหารที่รับประทานเข้าไป อาหารที่มาจากพืชจะไม่พบโคเลสเตอรอลเป็นส่วนประกอบ จะพบมากในไขมันสัตว์ ปริมาณไขมันขึ้นอยู่กับชนิดของอาหาร
➢ โคเลสเตอรอลมีความสำคัญต่อร่างกายเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์สมอง แต่หากมีไขมันโคเลสเตอรอลมากเกินไปก็จะเป็นโทษต่อร่างกายเช่นกัน ไขมันเหล่านี้จะไปสะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย เช่น หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ ทำให้เกิดเส้นเลือดแข็งตัว และการตีบตันของหลอดเลือดในอนาคต จะเป็นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับปริมาณโคเลสเตอรอล และปัจจัยเสี่ยงร่วมด้วย เช่นความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ ความอ้วน และการไม่ออกกำลังกาย เป็นต้น
➢ คนปกติจะต้องมีค่าโคเลสเตอรอลรวมน้อยกว่า 200 มก./ดล. ไตรกลีเซอไรด์น้อยกว่า 170 มก./ดล. ไขมันชนิดดี (HDL) ซึ่งเป็นไขมันที่ทำหน้าที่จับโคเลสเตอรอลจากเซลล์ของร่างกายและนำไปกำจัดทิ้งที่ตับ ควรมีค่ามากกว่า 60 มก./ดล. ส่วนไขมันชนิดไม่ดี (LDL) ควรน้อยกว่า 130 มก./ดล.
➤ โคเลสเตอรอลรวมแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
➢ High-Density Lipoprotein (HDL) เป็นไขมันชนิดดี เป็นคอเลสเตอรอลประเภทหนึ่ง แต่จะทำหน้าที่กำจัดไขมันชนิดอันตรายออกไปจากกระแสเลือด ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ มีความหนาแน่นสูง ทำหน้าที่จับไขมันโคเลสเตอรอลออกไปทำลายที่ตับ การมีไขมัน HDL สูงจะทำให้มีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดลดลง ซึ่งการทำให้ HDL สูงนั้น ต้องออกกำลังกายเท่านั้น
➢ Low-Density Lipoprotein (LDL) เป็นไขมันชนิดไม่ดี เป็นคอเลสเตอรอลที่ไปสะสมในผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดแดงตีบและแข็ง เป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน และหลอดเลือดสมองตีบ เป็นไขมันชนิดไม่ดีที่มาจากไขมันสัตว์ ถ้าไขมันชนิดนี้สูงจะไปเกาะผนังหลอดเลือดทำให้ตีบแคบลง การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวก ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดเสียไป จึงเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดตีบตันได้มาก
◉➤ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) เป็นไขมันประเภทหนึ่ง ซึ่งอาจมีการสะสมที่ผนังหลอดเลือดได้เช่นกันเมื่อมีปริมาณสูงมาก ๆ แต่จะมีอิทธิพลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดน้อยกว่าไขมันชนิดคอเลสเตอรอล เป็นไขมันเกิดจากการสร้างขึ้นเองในร่างกายจากน้ำตาล และแป้ง หรือจากอาหารที่รับประทานเข้าไป มีความสำคัญทางด้านโภชนาการหลายประการ นับตั้งแต่ให้พลังงาน ช่วยในการดูดซึมวิตามิน เอ ดี อี และ เค ช่วยทำให้รู้สึกอิ่มท้องได้นาน นอกจากนี้ ร่างกายยังเก็บสะสมไตรกลีเซอไรด์ไว้สาหรับให้พลังงานเมื่อมีความต้องการ
➢ การมีไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง หรือพบว่าไขมันในเลือดสูงในคนที่มีโคเลสเตอรอลสูงอยู่แล้ว เชื่อว่ามีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบมากขึ้น ระดับปกติในเลือด ไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตร (ค่าปกติ 50 – 150 mg/dl)
◉ ผลข้างเคียงของโรคไขมันในเลือดสูง
➤ ภาวะที่มีระดับกลุ่มไขมัน LDL สูงถือเป็นหนึ่งในความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งนำไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด และอัมพฤกษ์ อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง จากการที่ไขมันในเลือดสูงไปทำให้หลอดเลือดแดงใหญ่แข็งตัว ซึ่งเรียกว่า โรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
◉➤ โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้เองจากตับ และลำไส้ หรือได้รับจากสารอาหารที่รับประทานเข้าไป อาหารที่มาจากพืชจะไม่พบโคเลสเตอรอลเป็นส่วนประกอบ จะพบมากในไขมันสัตว์ ปริมาณไขมันขึ้นอยู่กับชนิดของอาหาร
➢ โคเลสเตอรอลมีความสำคัญต่อร่างกายเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์สมอง แต่หากมีไขมันโคเลสเตอรอลมากเกินไปก็จะเป็นโทษต่อร่างกายเช่นกัน ไขมันเหล่านี้จะไปสะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย เช่น หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ ทำให้เกิดเส้นเลือดแข็งตัว และการตีบตันของหลอดเลือดในอนาคต จะเป็นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับปริมาณโคเลสเตอรอล และปัจจัยเสี่ยงร่วมด้วย เช่นความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ ความอ้วน และการไม่ออกกำลังกาย เป็นต้น
➢ คนปกติจะต้องมีค่าโคเลสเตอรอลรวมน้อยกว่า 200 มก./ดล. ไตรกลีเซอไรด์น้อยกว่า 170 มก./ดล. ไขมันชนิดดี (HDL) ซึ่งเป็นไขมันที่ทำหน้าที่จับโคเลสเตอรอลจากเซลล์ของร่างกายและนำไปกำจัดทิ้งที่ตับ ควรมีค่ามากกว่า 60 มก./ดล. ส่วนไขมันชนิดไม่ดี (LDL) ควรน้อยกว่า 130 มก./ดล.
➤ โคเลสเตอรอลรวมแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
➢ High-Density Lipoprotein (HDL) เป็นไขมันชนิดดี เป็นคอเลสเตอรอลประเภทหนึ่ง แต่จะทำหน้าที่กำจัดไขมันชนิดอันตรายออกไปจากกระแสเลือด ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ มีความหนาแน่นสูง ทำหน้าที่จับไขมันโคเลสเตอรอลออกไปทำลายที่ตับ การมีไขมัน HDL สูงจะทำให้มีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดลดลง ซึ่งการทำให้ HDL สูงนั้น ต้องออกกำลังกายเท่านั้น
➢ Low-Density Lipoprotein (LDL) เป็นไขมันชนิดไม่ดี เป็นคอเลสเตอรอลที่ไปสะสมในผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดแดงตีบและแข็ง เป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน และหลอดเลือดสมองตีบ เป็นไขมันชนิดไม่ดีที่มาจากไขมันสัตว์ ถ้าไขมันชนิดนี้สูงจะไปเกาะผนังหลอดเลือดทำให้ตีบแคบลง การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวก ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดเสียไป จึงเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดตีบตันได้มาก
◉➤ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) เป็นไขมันประเภทหนึ่ง ซึ่งอาจมีการสะสมที่ผนังหลอดเลือดได้เช่นกันเมื่อมีปริมาณสูงมาก ๆ แต่จะมีอิทธิพลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดน้อยกว่าไขมันชนิดคอเลสเตอรอล เป็นไขมันเกิดจากการสร้างขึ้นเองในร่างกายจากน้ำตาล และแป้ง หรือจากอาหารที่รับประทานเข้าไป มีความสำคัญทางด้านโภชนาการหลายประการ นับตั้งแต่ให้พลังงาน ช่วยในการดูดซึมวิตามิน เอ ดี อี และ เค ช่วยทำให้รู้สึกอิ่มท้องได้นาน นอกจากนี้ ร่างกายยังเก็บสะสมไตรกลีเซอไรด์ไว้สาหรับให้พลังงานเมื่อมีความต้องการ
➢ การมีไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง หรือพบว่าไขมันในเลือดสูงในคนที่มีโคเลสเตอรอลสูงอยู่แล้ว เชื่อว่ามีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบมากขึ้น ระดับปกติในเลือด ไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตร (ค่าปกติ 50 – 150 mg/dl)
◉ ผลข้างเคียงของโรคไขมันในเลือดสูง
➤ ภาวะที่มีระดับกลุ่มไขมัน LDL สูงถือเป็นหนึ่งในความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งนำไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด และอัมพฤกษ์ อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง จากการที่ไขมันในเลือดสูงไปทำให้หลอดเลือดแดงใหญ่แข็งตัว ซึ่งเรียกว่า โรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
◉ สาเหตุ ของภาวะไขมันในเลือดสูง
➢ กรรมพันธุ์
➢ การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง โดยเฉพาะไขมันจากสัตว์
➢ โรคของต่อมไร้ท่อบางชนิด เช่น เบาหวาน ไทรอยด์ และโรคของต่อมหมวกไตบางอย่าง
➢ โรคอ้วน โรคอ้วนจะทำให้เซลล์ไขมันมีปริมาณมากขึ้นและปลดปล่อยกรดไขมันออกมามากเช่นกัน กรดไขมันเหล่านี้ก็จะถูกส่งไปที่ตับ เซลล์ตับก็จะผลิต VLDL ออกมามากขึ้น นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคอ้วนจะเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินและมีระดับอินซูลินขึ้นสูง ซึ่งทำให้มีผลคล้ายกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งการลดน้ำหนักจะช่วยลดระดับไขมันดังกล่าวได้
➢ โรคตับ โรคไตบางชนิด
➢ ยาบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ ฮอร์โมนเพศ (ยาคุมกำเนิด) เป็นต้น
➢ การตั้งครรภ์
➢ การดื่มแอลกอฮอล์
➢ ภาวะขาดการออกกำลังกาย
➢ กรรมพันธุ์
➢ การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง โดยเฉพาะไขมันจากสัตว์
➢ โรคของต่อมไร้ท่อบางชนิด เช่น เบาหวาน ไทรอยด์ และโรคของต่อมหมวกไตบางอย่าง
➢ โรคอ้วน โรคอ้วนจะทำให้เซลล์ไขมันมีปริมาณมากขึ้นและปลดปล่อยกรดไขมันออกมามากเช่นกัน กรดไขมันเหล่านี้ก็จะถูกส่งไปที่ตับ เซลล์ตับก็จะผลิต VLDL ออกมามากขึ้น นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคอ้วนจะเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินและมีระดับอินซูลินขึ้นสูง ซึ่งทำให้มีผลคล้ายกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งการลดน้ำหนักจะช่วยลดระดับไขมันดังกล่าวได้
➢ โรคตับ โรคไตบางชนิด
➢ ยาบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ ฮอร์โมนเพศ (ยาคุมกำเนิด) เป็นต้น
➢ การตั้งครรภ์
➢ การดื่มแอลกอฮอล์
➢ ภาวะขาดการออกกำลังกาย
◉ ผู้ที่ควรตรวจระดับไขมันในเลือด
➢ ควรตรวจเมื่ออายุเกิน 35 ปีขึ้นไป สำหรับผู้ที่มีวิถีชีวิตแบบชุมชนเมือง ถ้าปกติและไม่ได้มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดตีบอื่นๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่
➢ ควรตรวจเมื่ออายุยังไม่เกิน 45 ปี (ผู้ชาย) หรือ 55 ปี (สำหรับผู้หญิง) ไม่มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัวตั้งแต่อายุน้อย (ผู้ชายไม่เกิน 55 ปี และผู้หญิงไม่เกิน 65 ปี) และยังไม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง
➢ ควรตรวจซ้ำในอีก 5 ปีข้างหน้า หากมีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวแล้ว
➢ ควรตรวจเมื่อตรวจพบไขมันในเลือดปกติก็ตรวจซ้ำในอีก 1-3 ปี
➢ มีหลักฐานหรือสงสัยว่าโรคหลอดเลือดตีบ ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะใดก็ตาม
➢ มีความเสี่ยงอื่นต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น สูบบุหรี่ โรคความดันเลือดสูง และโรคเบาหวาน
➢ ประวัติพ่อแม่หรือพี่น้องเป็นโรคหลอดเลือดตีบโดยญาติเพศชายเป็นก่อนอายุ 55 และญาติเพศหญิงก่อนอายุ 65 ปี
➢ ผู้ป่วยโรคอ้วนลงพุง BMI มากกว่า 30
➢ เป็นโรคเรื้อรังบางชนิดที่พบว่าเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดตีบ เช่น โรครูมาตอยด์ โรค SLE Psoriasis
➢ ผู้ที่ไตเสื่อม อัตราการกรองของไตน้อยกว่า 60
➢ คนในครอบครัวมีประวัติไขมันสูง
➢ ควรตรวจเมื่ออายุเกิน 35 ปีขึ้นไป สำหรับผู้ที่มีวิถีชีวิตแบบชุมชนเมือง ถ้าปกติและไม่ได้มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดตีบอื่นๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่
➢ ควรตรวจเมื่ออายุยังไม่เกิน 45 ปี (ผู้ชาย) หรือ 55 ปี (สำหรับผู้หญิง) ไม่มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัวตั้งแต่อายุน้อย (ผู้ชายไม่เกิน 55 ปี และผู้หญิงไม่เกิน 65 ปี) และยังไม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง
➢ ควรตรวจซ้ำในอีก 5 ปีข้างหน้า หากมีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวแล้ว
➢ ควรตรวจเมื่อตรวจพบไขมันในเลือดปกติก็ตรวจซ้ำในอีก 1-3 ปี
➢ มีหลักฐานหรือสงสัยว่าโรคหลอดเลือดตีบ ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะใดก็ตาม
➢ มีความเสี่ยงอื่นต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น สูบบุหรี่ โรคความดันเลือดสูง และโรคเบาหวาน
➢ ประวัติพ่อแม่หรือพี่น้องเป็นโรคหลอดเลือดตีบโดยญาติเพศชายเป็นก่อนอายุ 55 และญาติเพศหญิงก่อนอายุ 65 ปี
➢ ผู้ป่วยโรคอ้วนลงพุง BMI มากกว่า 30
➢ เป็นโรคเรื้อรังบางชนิดที่พบว่าเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดตีบ เช่น โรครูมาตอยด์ โรค SLE Psoriasis
➢ ผู้ที่ไตเสื่อม อัตราการกรองของไตน้อยกว่า 60
➢ คนในครอบครัวมีประวัติไขมันสูง
◉ ข้อควรปฏิบัติ เมื่อไขมันในเลือดสูง
➢ ควบคุมอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง เช่น ไขมันสัตว์ สมองสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง อาหารทะเล หอยนางรม ปลาหมึก กุ้ง หนังเป็ด หนังไก่ มะพร้าว อาหารที่มีกะทิ หากมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูงด้วย ควรระวังอาหารพวกแป้ง น้ำตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวาน ผลไม้รสหวานจัด
➢ รับประทานอาหารประเภทเนื้อปลา เนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน นมพร่องมันเนย
➢ หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา เบียร์ เพราะแอลกอฮอล์ เพราะมีฤทธิ์สะสมไขมันตามเนื้อเยื่อ
➢ หลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยน้ำมัน อาหารทอด เจียว ควรใช้น้ำมันจากพืชแทนน้ำมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด น้ำมันดอกทานตะวัน ซึ่งมีกรดไลโนเลอิกเป็นตัวนำ โคเลสเตอรอลไปเผาผลาญซึ่งจะช่วยในการดูดซึมไขมันสู่ร่างกายน้อยลง
➢ ควรเพิ่มอาหารประเภทผักใบต่าง ๆ และผลไม้บางชนิดที่ให้ใยและกาก เช่น คะน้า ฝรั่ง ส้ม เม็ดแมงลัก เพื่อให้ร่างกายได้รับกากใยมากขึ้น เพื่อช่วยในการดูดซึมของไขมันสู่ร่างกายน้อยลง
➢ การออกกำลังกาย จะช่วยลดปริมาณไขมันในเลือดและเพิ่มระดับของ HDL ควรทำอย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 20-30 นาที การออกกำลังกายที่ดี เช่น การเดินเร็ว จ๊อกกิ้ง เต้นรำ ขี่จักรยาน
➢ งดสูบบุหรี่ เพราะจะทำให้ HDL ในเลือดต่ำลง เพราะบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด
➢ การลดน้ำหนัก ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเกินต้องลดน้ำหนัก ซึ่งจะช่วยให้ระดับไตรกลีเซอไรด์ลดลงและช่วยเพิ่มระดับกลุ่มไขมัน HDL ได้
➢ ปรึกษาแพทย์ ติดตามผล การปฏิบัติตัว บางระยะอาจต้องใช้ยาช่วยปรับระดับไขมันในเลือดสูง ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้แนะนำและติดตามผลการรักษาต่อไป
➢ ควบคุมอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง เช่น ไขมันสัตว์ สมองสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง อาหารทะเล หอยนางรม ปลาหมึก กุ้ง หนังเป็ด หนังไก่ มะพร้าว อาหารที่มีกะทิ หากมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูงด้วย ควรระวังอาหารพวกแป้ง น้ำตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวาน ผลไม้รสหวานจัด
➢ รับประทานอาหารประเภทเนื้อปลา เนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน นมพร่องมันเนย
➢ หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา เบียร์ เพราะแอลกอฮอล์ เพราะมีฤทธิ์สะสมไขมันตามเนื้อเยื่อ
➢ หลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยน้ำมัน อาหารทอด เจียว ควรใช้น้ำมันจากพืชแทนน้ำมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด น้ำมันดอกทานตะวัน ซึ่งมีกรดไลโนเลอิกเป็นตัวนำ โคเลสเตอรอลไปเผาผลาญซึ่งจะช่วยในการดูดซึมไขมันสู่ร่างกายน้อยลง
➢ ควรเพิ่มอาหารประเภทผักใบต่าง ๆ และผลไม้บางชนิดที่ให้ใยและกาก เช่น คะน้า ฝรั่ง ส้ม เม็ดแมงลัก เพื่อให้ร่างกายได้รับกากใยมากขึ้น เพื่อช่วยในการดูดซึมของไขมันสู่ร่างกายน้อยลง
➢ การออกกำลังกาย จะช่วยลดปริมาณไขมันในเลือดและเพิ่มระดับของ HDL ควรทำอย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 20-30 นาที การออกกำลังกายที่ดี เช่น การเดินเร็ว จ๊อกกิ้ง เต้นรำ ขี่จักรยาน
➢ งดสูบบุหรี่ เพราะจะทำให้ HDL ในเลือดต่ำลง เพราะบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด
➢ การลดน้ำหนัก ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเกินต้องลดน้ำหนัก ซึ่งจะช่วยให้ระดับไตรกลีเซอไรด์ลดลงและช่วยเพิ่มระดับกลุ่มไขมัน HDL ได้
➢ ปรึกษาแพทย์ ติดตามผล การปฏิบัติตัว บางระยะอาจต้องใช้ยาช่วยปรับระดับไขมันในเลือดสูง ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้แนะนำและติดตามผลการรักษาต่อไป
◉ การดูแลตนเองและการป้องกันไขมันในเลือดสูง
➢ จำกัดอาหารไขมันให้น้อยที่สุด หรือหลีกเลี่ยงอาหารทอด และใช้น้ำมันพืชแทนน้ำมันจากสัตว์
➢ จำกัดอาหารแป้ง และน้ำตาลเพื่อลดโอกาสเกิดโรคเบาหวาน
➢ กินอาหารจืดเพื่อลดโอกาสเกิดโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมักพบเกิดร่วมกับโรคไขมันในเลือดสูง
➢ เลิกบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ เพราะสารพิษในควันบุหรี่เพิ่มการจับตัวของไขมันในหลอดเลือด เพิ่มโอกาสเกิดหลอดเลือดแข็ง
➢ ควบคุมน้ำหนัก ไม่ให้เกิดโรคอ้วนและน้ำหนักตัวเกิน
➢ ออกกำลังกายสม่ำเสมอด้วยการวิ่ง เดินเร็ว หรือขี่จักรยาน ช่วยลดปริมาณไขมันในเลือด และเพิ่มระดับของ HDL ได้ดี ควรทำอย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละ 3 – 4 ครั้ง ครั้งละ 20 – 30 นาที
➢ กินยาลดไขมันตามแพทย์แนะนำอย่าขาดยา
➢ พบแพทย์ตามนัดเสมอ
➢ จำกัดอาหารไขมันให้น้อยที่สุด หรือหลีกเลี่ยงอาหารทอด และใช้น้ำมันพืชแทนน้ำมันจากสัตว์
➢ จำกัดอาหารแป้ง และน้ำตาลเพื่อลดโอกาสเกิดโรคเบาหวาน
➢ กินอาหารจืดเพื่อลดโอกาสเกิดโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมักพบเกิดร่วมกับโรคไขมันในเลือดสูง
➢ เลิกบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ เพราะสารพิษในควันบุหรี่เพิ่มการจับตัวของไขมันในหลอดเลือด เพิ่มโอกาสเกิดหลอดเลือดแข็ง
➢ ควบคุมน้ำหนัก ไม่ให้เกิดโรคอ้วนและน้ำหนักตัวเกิน
➢ ออกกำลังกายสม่ำเสมอด้วยการวิ่ง เดินเร็ว หรือขี่จักรยาน ช่วยลดปริมาณไขมันในเลือด และเพิ่มระดับของ HDL ได้ดี ควรทำอย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละ 3 – 4 ครั้ง ครั้งละ 20 – 30 นาที
➢ กินยาลดไขมันตามแพทย์แนะนำอย่าขาดยา
➢ พบแพทย์ตามนัดเสมอ
◉ กินอย่างไร ห่างไกลไขมันในเลือดสูง
อาหารที่มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและช่วยให้สุขภาพดีขึ้นได้ เช่น
➢ กระเทียม เป็นอาหารลดไขมันชั้นเยี่ยม มีฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการสร้างคอเลสเตอรอลในร่างกาย ลดระดับไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดความดันโลหิต
➢ พริกไทยดำ ลดการซึมผ่านของคอเลสเตอรอลจากลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด และช่วยกระตุ้นการลั่งของน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็นการช่วยเผาผลาญไขมันไปในตัว
➢ อัลมอนด์ ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี หรือ LDL-Cholesterol และป้องกันไม่ให้ไขมันไม่ดี หรือไตรกลีเซอไรด์ถูกดูดซับเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจได้
➢ ถั่วเหลือง ในเมล็ดถั่วเหลืองมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งจะช่วยลดคอเลสเตอรอลในร่างกาย ช่วยลดโอกาสของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สามารถหาทานได้ง่ายๆ เช่น เมนูน้ำเต้าหู้
➢ ชา ควรเลือกดื่มชาขาว เพราะมีสรรพคุณเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ อีกทั้งยังเป็นอาหารลดไขมันชั้นดีอีกด้วย
➢ อะโวคาโด อุดมไปด้วยไขมันชนิดที่ดีต่อร่างกาย ช่วยเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลชนิดที่ดีในร่างกาย และทำให้ไขมันชนิดที่ไม่ดีอย่างคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดลดลง
อาหารที่มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและช่วยให้สุขภาพดีขึ้นได้ เช่น
➢ กระเทียม เป็นอาหารลดไขมันชั้นเยี่ยม มีฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการสร้างคอเลสเตอรอลในร่างกาย ลดระดับไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดความดันโลหิต
➢ พริกไทยดำ ลดการซึมผ่านของคอเลสเตอรอลจากลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด และช่วยกระตุ้นการลั่งของน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็นการช่วยเผาผลาญไขมันไปในตัว
➢ อัลมอนด์ ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี หรือ LDL-Cholesterol และป้องกันไม่ให้ไขมันไม่ดี หรือไตรกลีเซอไรด์ถูกดูดซับเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจได้
➢ ถั่วเหลือง ในเมล็ดถั่วเหลืองมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งจะช่วยลดคอเลสเตอรอลในร่างกาย ช่วยลดโอกาสของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สามารถหาทานได้ง่ายๆ เช่น เมนูน้ำเต้าหู้
➢ ชา ควรเลือกดื่มชาขาว เพราะมีสรรพคุณเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ อีกทั้งยังเป็นอาหารลดไขมันชั้นดีอีกด้วย
➢ อะโวคาโด อุดมไปด้วยไขมันชนิดที่ดีต่อร่างกาย ช่วยเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลชนิดที่ดีในร่างกาย และทำให้ไขมันชนิดที่ไม่ดีอย่างคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดลดลง
✨ เราสามารถดูแลสุขภาพ ป้องกัน ลดความเสี่ยง ไขมันในเลือดสูง ได้ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ ☛☛☛
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ⛛
✔️กระเทียม (Garlicine) ✔️น้ำมันจมูกข้าว (ORYZA-E) ✔️น้ำมันปลา (Fish Oil) ✔️น้ำมันเมล็ดงาขี้ม่อน น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา โพลิโคซานอล (Cosanol Multi Plant Omega 3 Oil) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ⛛
✔️กระเทียม (Garlicine) ✔️น้ำมันจมูกข้าว (ORYZA-E) ✔️น้ำมันปลา (Fish Oil) ✔️น้ำมันเมล็ดงาขี้ม่อน น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา โพลิโคซานอล (Cosanol Multi Plant Omega 3 Oil) ✔️ALA ทางเลือกในการเสริมโอเมก้า 3 จากพืช 5 ชนิด (ALA Multi Plants Omega 3 Plus) ✔️ไบโอ ซี วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (Bio C 1000 mg)
◉ อาหาร สารอาหาร วิตามิน อาหารเสริม ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง...☛☛☛
✔️เลซิติน (LECITHIN) ✔️งาดำ (SESAME-S) ✔️น้ำมันมะกอกธรรมชาติสกัดเย็น และสารไฮดรอกซีไทโรซอล (HI-OLIVE) ✔️ถั่งเช่า (CHONG CAO) ✔️ขิง (Ginger-C) ✔️มะรุม (Marum-C) ✔️แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ✔️ไฟโต วิต (PHYTO VITT) ✔️สารสกัดจากเปลือกองุ่นแดง เรสเวอราทอล (RES ZANOL) ✔️สมุนไพรรวม 39 ชนิด จากสมุนไพรฤทธิ์เย็น, เย็นกลาง, ร้อน, อุ่น (Punja Puta)
✱✱✱ กระเทียม น้ำมันปลา และถั่งเช่า ห้ามในผู้ที่เกล็ดเลือดต่ำ เลือดออกง่าย ผู้ที่มีประวัติเส้นเลือดแตกในสมอง ผู้ที่รับยาแอสไพริน หรือยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด ของเลือด และยาละลายลิ่มเลือด เพราะอาจส่งเสริมทำให้เลือดหยุดยากเวลามีแผล หรือเลือดออกตามอวัยวะต่างๆได้
✔️เลซิติน (LECITHIN) ✔️งาดำ (SESAME-S) ✔️น้ำมันมะกอกธรรมชาติสกัดเย็น และสารไฮดรอกซีไทโรซอล (HI-OLIVE) ✔️ถั่งเช่า (CHONG CAO) ✔️ขิง (Ginger-C) ✔️มะรุม (Marum-C) ✔️แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ✔️ไฟโต วิต (PHYTO VITT) ✔️สารสกัดจากเปลือกองุ่นแดง เรสเวอราทอล (RES ZANOL) ✔️สมุนไพรรวม 39 ชนิด จากสมุนไพรฤทธิ์เย็น, เย็นกลาง, ร้อน, อุ่น (Punja Puta)
✱✱✱ กระเทียม น้ำมันปลา และถั่งเช่า ห้ามในผู้ที่เกล็ดเลือดต่ำ เลือดออกง่าย ผู้ที่มีประวัติเส้นเลือดแตกในสมอง ผู้ที่รับยาแอสไพริน หรือยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด ของเลือด และยาละลายลิ่มเลือด เพราะอาจส่งเสริมทำให้เลือดหยุดยากเวลามีแผล หรือเลือดออกตามอวัยวะต่างๆได้
การ์ลีซีน กระเทียมผงสกัด ลดความเสี่ยงการเป็นความดันโลหิตสูง 👀คลิกที่รูป
ไฟโต วิต [PHYTO VITT] สารสกัดจากผักและผลไม้รวม 👀คลิกที่รูป
โอรีซา อี นํ้ามันจมูกข้าว นํ้ามันรำข้าวผสมนํ้ามันจมูกข้าวสาลี 👀คลิกที่รูป
ไฮ-โอลีฟ สารสกัดจากผลมะกอก วิตามินอี และโทโคไตรอีนอล 👀คลิกที่รูป
ถั่งเช่า (CHONG CAO) บำรุงร่างกาย สุขภาพดี แข็งแรง
👀คลิกที่รูป
CHONG CAO-W ถั่งเช่า วิตามินซี ทับทิมสกัด ไลโคพีน จมูกถั่วเหลือง 👀คลิกที่รูป
จินเจอร์-ซี สารสกัดขิง ผงขิง วิตามินซี 👀คลิกที่รูป
Fish Oil 1000 - น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล) 👀คลิกที่รูป
Cosanol Multi Plant น้ำมันงาขี้ม่อน เมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันงา วิตามินอี โพลิโคซานอล
Sesame-S สารสกัดจากงาดำ ข้าวกล้องหอมนิลงอก วิตามินซี ซีลีเนียม 👀คลิกที่รูป
มะรุม-ซี (Marum-C) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารใบมะรุมผสมวิตามินซี 👀คลิกที่รูป
แอสตาแซนธินผสมวิตามินซี (สารสกัดสาหร่ายฮีมาโตคอกคัส พลูวิเอลิส) 👀คลิกที่รูป
แอสตา-แมกซ์ Astaxanthin สารต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง 👀คลิกที่รูป
เรส ซานอล น้ำมันรำข้าว สารสกัดจากเปลือก&เมล็ดองุ่นแดง แกมมา-โอรีซานอล
LECITHIN เลซิติน ผสมแคโรทีนอยด์ และวิตามิน อี 👀คลิกที่รูป
ปัณจะ ภูตะ สมุนไพร 39 ชนิด เสริมฤทธิ์กันเพื่อต้านโรคเรื้อรังต่างๆ 👀คลิกที่รูป
ลด LDL การสะสมไขมันที่เซลล์ การสะสมไขมันที่ช่องท้อง ต้านภาวะอ้วนลงพุง 👀
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (30 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
ไบโอ ซี 1000 มก วิตามินซีที่ทุกคนควรมีติดบ้าน (30 เม็ด) 👀คลิกที่รูป▼
📖เรียนรู้เกี่ยวกับ โรค NCDs โรคที่เราสร้างเองอืนๆ 👀คลิกที่รูป▼
Contact
ติดต่อ สอบถาม สั่งซื้อ
แตะคลิกที่ ปุ่มโทร หรือ ปุ่มไลน์
หรือกรอกรายละเอียด ข้อมูล
ที่แบบฟอร์มด้านล่างแล้วกดส่งถึงเรา
🤠 CHAIWAT maximize
WEB design & Health Advisor
📞 tel:0624975450
Line ID: CHAIWATmaximize
Email: [email protected]
WEB design & Health Advisor
📞 tel:0624975450
Line ID: CHAIWATmaximize
Email: [email protected]
Visit 21484
Presented by healthytips-healthcare.com